รู้เท่า รู้ทัน ป้องกัน COVID-19

0
3943

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม 2563 เวลา 18.30 น. ทาง FM 101 ได้จัดสัมมนารูปแบบใหม่ผ่านทางออนไลน์ ในหัวข้อ “รู้เท่า รู้ทัน ป้องกัน COVID-19”

วิทยากรในงานสัมมนาคือ นพ. ธิติวัฒน์ ศรีประสาธน์ จากหน่วยโรคระบบการหายใจ ฝ่ายอายุรศาสตร์ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ท่านได้บรรยายตอบคำถามจากทั้งทีมงานและผู้เข้าร่วมสัมมนาเกี่ยวกับเชื้อไวรัสโควิด-19 เอาไว้ดังนี้


คำถามยอดฮิต

1. COVID-19 ต่างจากไข้หวัดธรรมดาอย่างไร?

2. หากติดเชื้อและรักษาหายแล้ว อวัยวะภายในเช่นปอด จะเกิดความเสียหายถาวรหรือไม่?

3. ระยะเวลาเฉลี่ยในการรักษาผู้ป่วยตั้งแต่พบว่าติดเชื้อจนตรวจไม่พบเชื้อ COVID-19 อีกนั้นนานเท่าไร?

4. อัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อ COVID-19 เป็นเท่าไหร่? ข้อนี้มีภาพประกอบเพิ่มเติม

5. เมื่อติดเชื้อและรักษาจนหายแล้ว ทำไมจึงยังมีโอกาสกลับมาติดเชื้อ COVID-19 ได้อีก?

6.  ความคืบหน้าในการวิจัยยารักษาและวัคซีน COVID-19 ในไทยไปถึงขั้นไหนแล้ว?

7. หากการระบาดทำให้มีผู้ป่วยหลักพันคน การสาธารณสุขไทยจะรองรับไหวหรือไม่?

8. เมื่อผ่านพ้นการระบาดทั่วโลกในปีนี้ไปแล้ว มีโอกาสที่ COVID-19 จะกลายเป็นโรคประจำถิ่นหรือโรคประจำฤดูกาลหรือไม่?

9. ถ้าเกิดเป็น COVID-19 รักษาตัวหายแล้ว จะมีผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาวหรือไม่?

10. สภาวะแวดล้อมแบบไหนที่เชื้อ COVID-19 กลัว?

11. สิ่งที่แพทย์กลัวที่สุดในสถานการณ์ COVID-19 ในไทย คืออะไร?

12. หน้ากากผ้าป้องกัน COVID-19 ได้กี่เปอร์เซ็นต์ ถ้าจำเป็นต้องใช้ควรเลือกผ้าชนิดใด?

13. ในคนไข้โรคอื่น ๆ ปกติที่ต้องไปติดตามอาการหรือไปรับยาที่ทานประจำ ถ้าต้องไป รพ.ในช่วงนี้จะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร?

14. ตรวจเชื้อ COVID-19 ได้ที่ไหน มีค่าใช้จ่ายอย่างไร? ข้อนี้มีภาพประกอบเพิ่มเติม

15. ทำไมต่างประเทศรณรงค์ไม่ให้ใส่หน้ากากอนามัยป้องกัน COVID -19 แล้วคนไทยควรใส่หรือไม่?

16. ควรจำเป็นต้องสวมถุงมือไว้เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการสัมผัสหรือไม่?

17. แม้เราจะไม่เคยไปประเทศกลุ่มเสี่ยงแต่ต้องใช้ชีวิตอยู่กับคนจำนวนมาก เราจะสามารถสังเกตอาการตัวเองได้อย่างไรว่าเราติดเชื้อแล้วหรือไม่?

18. มีข่าวลือว่าสมุนไพรฟ้าทลายโจร สามารถช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อไวรัส COVID-19 ได้จริงหรือไม่?

19. ถ้าตั้งครรภ์แล้วคุณแม่ติดเชื้อ COVID-19 จะส่งผลกระทบอะไรกับทารกหรือไม่?

20. คาดว่าต้องใช้เวลานานเท่าไหร่ สถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 จึงจะคลี่คลาย?

21. เชื้อ COVID-19  ที่อยู่ในตัวผู้ป่วย 1 คน ต้องใช้ปริมาณยาในการรักษามากน้อยแค่ไหน?

22. ระยะฟักตัวอาจจะนานกว่า 14 วันหรือไม่?

23. หลังพ้นระยะ 14 วัน แล้วตรวจไม่เจอ แปลว่าไม่ติดเชื้อเลยใช่หรือไม่?

24. ของใช้ในร้านเสริมสวย/ตัดผมชาย เช่น ผ้าขนหนู หวี กรรไกร ผ้าคลุม ใช้ร่วมกับคนอื่น จะทำให้เราติดเชื้อได้หรือไม่?

25. อากาศหน้าร้อนฆ่าเชื้อไวรัสได้จริงหรือไม่ และไวรัสจะตายที่อุณหภูมิเท่าไหร่?

26. เครื่องฟอกอากาศ สเปรย์ฆ่าเชื้อในอากาศ ช่วยกำจัดเชื้อไวรัสได้หรือไม่?

27. หากต้องการทำความสะอาดบ้าน มีวิธีแนะนำการทำความสะอาดที่ถูกต้องอย่างไร ต้องใช้อะไรถึงฆ่าเชื้อได้ ทิ้งไว้นานแค่ไหน?

28. แอลกฮอล์ที่เราใช้ล้างมือบ่อยๆ มีอันตรายกับตัวเรามากแค่ไหน ต้องใช้ปริมาณเท่าไหร่ถึงจะไม่อันตราย?

29. วิธีการจัดการศพของผู้ที่เสียชีวิตจาก COVID-19 นั้น เจ้าหน้าที่มีการจัดการป้องกันอย่างไร? ข้อนี้มีภาพประกอบเพิ่มเติม

30. เราสามารถติดเชื้อ COVID-19 ที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหารได้หรือไม่?

31. การมีเพศสัมพันธ์ทำให้ติดเชื้อไวรัส COVID-19 ได้หรือไม่? ข้อนี้มีภาพประกอบเพิ่มเติม

32. ท้ายนี้ คุณหมอมีอะไรเพิ่มเติมที่อยากบอกประชาชนอีกหรือไม่?


Chula Covid-19 Strip Test Service


คำถามเพิ่มตามจากผู้เข้าร่วมสัมมนา

ดิฉันเดินผ่านคนที่ติดเชื้อแต่ใส่หน้ากากอนามัยแล้ว จะทำให้ดิฉันติดเชื้อได้หรือไม่

ผมทำงานเป็นคนดูแลสระว่ายน้ำ จะมีโอกาสที่จะติดเชื้อหรือไม่

มีโอกาสที่เชื้อจะกลายพันธุ์แล้วขึ้นสมองได้หรือไม่

คนที่เป็นเบาหวานหรือโรคอ้วน หากติดเชื้อแล้วจะทำให้ความรุนแรงของโรคยิ่งมากขึ้นหรือไม่

เราจะมีวิธีตรวจสอบเบื้องต้นได้อย่างไรว่าเชื้อไวรัสได้ลงไปที่ปอดแล้ว

การฝังเข็มสามารถทำให้ติดเชื้อได้หรือไม่ เพราะเวลาดึงเข็มออกจะมีเลือดไหลในบางจุด หมอฝังเข็มมีโอกาสติดเชื้อจากคนไข้ได้หรือไม่

หากมีคนที่ติดเชื้อแล้วเข้าไปซื้อของสดในร้านประจำหมู่บ้าน หลังจากนั้นเราเข้าไปในร้านนั้นโดยที่ไม่รู้ จะทำให้เราเป็นกลุ่มเสี่ยงหรือไม่

แพทย์วินิจฉัยแล้วว่าเป็นไข้หวัด มีโอกาสที่จะเป็นโควิด-19 หรือไม่

ถ้าไม่มีไข้ มีแต่อาการคันคอ ไอและมีน้ำมูก แสดงว่าไม่ติดเชื้อใช่ไหมครับ

มีโอกาสที่ไวรัสโควิด-19 จะกลับมาแพร่ระบาดใหม่และรุนแรงกว่าเดิมหรือไม่

ถ้าบอกว่าคนที่ติดเชื้อแล้วส่วนใหญ่สามารถหายเองได้ และบางคนที่เสียชีวิตไปเป็นเพราะพวกเขามีโรคประจำตัวอื่น ๆ อยู่ก่อน นั่นหมายความว่ามันไม่ใช่โรคที่น่ากลัวจริงหรือไม่


ลิงค์ข้อมูลเพิ่มเติม

  • เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ | การป้องกันไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 https://youtu.be/ODfhHUoyozo
  • โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์รับมือไวรัสโควิด-19 https://youtu.be/CojJFNFH59E
  • สภากาชาดไทยชวนบริจาคโลหิต เพราะอยู่ในภาวะโลหิตสำรองไม่เพียงพอ https://www.redcross.or.th/news/information/10005/
  • Chula COVID-19 Strip Test ชุดตรวจคัดกรองความเสี่ยง COVID-19 เบื้องต้นจากผลเลือด สะดวกและรวดเร็ว https://www.chula.ac.th/news/28743/

หวังว่าทุกท่านคงได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์และแนวทางปฏิบัติเพื่อดูแลตัวเองและคนในครอบครัวให้รอดพ้นจากการแพร่ระบาดในครั้งนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเราคนไทยทุกคนจะร่วมมือร่วมพลังใจกันฝ่าฝันวิกฤตครั้งนี้ไปให้ได้ค่ะ ท้ายสุดนี้ขอขอบพระคุณนายแพทย์ธิติวัฒน์ ศรีประสาธน์ หน่วยโรคระบบการหายใจ ฝ่ายอายุรศาสตร์ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ที่สละเวลามาให้ความรู้แก่พวกเราในโอกาสนี้ค่ะ ขอขอบพระคุณท่านสมาชิกในห้อง FM101 สังคม ทุก ๆ ท่านด้วยนะคะ

พบกันใหม่ในกิจกรรมดี ๆ ในห้องไลน์โอเพ่นแชทของ FM101 ในโอกาสหน้านะคะ สำหรับท่านที่ยังไม่ได้เข้าร่วม สามารถกดเข้าร่วมห้องได้จากลิงค์ด้านล่าง เพื่อรับข่าวสารกิจกรรมดี ๆ ก่อนใคร และมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นด้านสังคมของเราค่ะ

https://line.me/ti/g2/d4lLDdbb_yox4B1YwwUNsw